ค้นหาตามคำ
ค้นหาตามอักษร
     


   
ชื่อ ไทรย้อยใบแหลม
ชื่อวิทยาศาสตร์ Ficus benjamina Linn
ลักษณะสำคัญ มีรากอากาศใบเป็นใบเดี่ยวเรียงสลับรูปรีแกมรูปไข่
สรรพคุณ/ประโยชน์ ต้มขับปัสสาวะแก้ขัดเบา
 
 
สถานที่ค้นพบ  
ประเภท  
   


   
ชื่อ ทุ้งฟ้า
ชื่อวิทยาศาสตร์ Alstonia macropylla Wall
ลักษณะสำคัญ กิ่งใหญ่ตั้งฉากกับลำต้นเนรอบๆ เรือนยอดรูปไข่
สรรพคุณ/ประโยชน์ รากช้ผสมยาบำรุงร่างกาย บำรุงกำหนัด
 
 
สถานที่ค้นพบ  
ประเภท  
   


   
ชื่อ ทองกวาว
ชื่อวิทยาศาสตร์ Butea monospermao.Ktze
ลักษณะสำคัญ เปลือกสีเทาคล้ำแตกเป็นร่องตื้นๆ
สรรพคุณ/ประโยชน์ ยางแก้ท้องร่วง ใบตำพอกฝีและสิว,ถอนพิษ
 
 
สถานที่ค้นพบ  
ประเภท  
   


   
ชื่อ ทองหลางลาย
ชื่อวิทยาศาสตร์ Erythrina variegata Linn
ลักษณะสำคัญ กิ่งอ่อนมีหนามเรือนยอดเป็นพุ่มกลมโปร่ง
สรรพคุณ/ประโยชน์ แก้ปวดท้อง ปวดพัน รักษาฝี
 
 
สถานที่ค้นพบ  
ประเภท  
   


   
ชื่อ เทพทาโร
ชื่อวิทยาศาสตร์ Cinnamomun porrectum Kosterm
ลักษณะสำคัญ เรือนยอดเป็นพุ่มทึบใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงตรงข้ามกัน
สรรพคุณ/ประโยชน์ เป็นยาบำรุงร่างกายอย่างดี ใช้ต้มกินแก้จุกเสียด แน่นเฟ้อ ปวดท้อง ขับลมในลำไส้
 
 
สถานที่ค้นพบ  
ประเภท  
   


   
ชื่อ เทียนหยด
ชื่อวิทยาศาสตร์ Duranta repens L.; Duranta erecta L
ลักษณะสำคัญ ไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก ใบรูปไข่ ดอกออกทั้งปีออกเป็นช่อ ดอกมีสีม่วงอมฟ้า หรือขาว ผลกลมสีส้มเหลือง
สรรพคุณ/ประโยชน์ ปลูกเป็นไม้ประดับ
 
 
สถานที่ค้นพบ  
ประเภท  
   


   
ชื่อ ไทร
ชื่อวิทยาศาสตร์ Ficus Benjamina L.
ลักษณะสำคัญ ต้น  ไม้สูง 5-10 เมตร ไม่ผลัดใบ เรือนยอดทรงกลมแผ่กว้าง สีน้ำตาล กิ่งก้านห้อยย้อยลง โตช้า มีรากอากาศห้อยย้อยสวยงาม - ใบ  ใบเดี่ยว เรียงสลับ แผ่นใบรูปรีแกมรูปไข่ กว้าง 2.5-5 เซนติเมตร ยาว 5-11 เซนติเมตร ปลายเรียวแหลมโคนสอบ แผ่นใบค่อนข้างหนาเป็นมัน - ดอก  ออกดอกเป็นช่อตามซอกใบเกิดภายในฐานรองดอก ทรงกลมคล้ายผลไม่มีกลีบดอก - ฝัก/ผล  รูปกลม เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 0.8 เซนติเมตร เมื่อสุกสีเหลือง
สรรพคุณ/ประโยชน์ เนื้อไม้ ใช้แก้ลมพิษ แก้กามโรค เปลือกต้น เป็นยาแก้โรคผิวหนังกลากเกลื้อน นอกจากนี้ ยังใช้เป็นยาบำรุงเหงือก ทำให้ฟันทน ยาถ่ายและฆ่าพยาธิ
 
 
สถานที่ค้นพบ  
ประเภท  
   


   
ชื่อ ไทรใบกลม
ชื่อวิทยาศาสตร์ Ficusannulata     Blume
ลักษณะสำคัญ ต้น  พรรณไม้ยืนต้นขนาดเล็ก เป็นพรรณไม้แยกมาจากตระกูลยางอินเดีย - ใบ  ใบกลมและเล็ก ใบดก ใบสีเขียวเข้มขอบเรียบตลอดทั้งใบ ปลายใบมน โคนใบมนและสอบเข้าหาก้านใบ - ผล  ผลกลมคล้ายลูกเบอรี่ มีสีเหลืองแดง
สรรพคุณ/ประโยชน์ ปลูกเป็นไม้ประดับ
 
 
สถานที่ค้นพบ  
ประเภท