ค้นหาตามคำ
ค้นหาตามอักษร
     


   
ชื่อ ตะเคียนชันจาแมว
ชื่อวิทยาศาสตร์ Balanocarpus heimii King
ลักษณะสำคัญ เรือนยอดเป็นพุ่มทึบลำต้นเปลาตรง
สรรพคุณ/ประโยชน์ -
 
 
สถานที่ค้นพบ  
ประเภท  
   


   
ชื่อ ตะเคียนทอง
ชื่อวิทยาศาสตร์ Hopea odorata Roxb
ลักษณะสำคัญ เรือนยอดเป็นพุ่มทึบกลมหรือรูปเจดีย์เปลือกหนาสีน้ำตาลดำ
สรรพคุณ/ประโยชน์ มีฤทธิ์เป็นยาปฎิชีวนะ แก้อักเสบห้ามเลือด
 
 
สถานที่ค้นพบ  
ประเภท  
   


   
ชื่อ ตะแบก
ชื่อวิทยาศาสตร์ Lagerstroemia floribunda  Jack
ลักษณะสำคัญ ไม้ต้น ผลัดใบ สูง 15 – 30 เมตร เปลือกเรียบเป็นมันสีเทาอมขาว แตกร่อนเป็นหลุมตื้น ใบ เดี่ยว เรียงตรงข้ามหรือเยื้องกันเล็กน้อย แผ่นใบรูปขอบขนานแกมรูปใบหอก กว้าง 5 – 7 เซนติเมตร ยาว 12 – 20 เซนติเมตร ปลายใบเป็นติ่งแหลม โคนสอบ ดอก สีม่วงอมชมพู่เมื่อแก่สีขาว ออกรวมกันเป็นช่อตามปลายกิ่ง ผล รูปรี ยาวประมาณ 2 เซนติเมตร ผลแก่แตกเป็น 6 ซีก เมล็ด เล็ก มีปีกโค้งทางด้านบน 1 ปีก
สรรพคุณ/ประโยชน์ รสฝาด แก้บิด มูกเลือด แก้ลงแดง
 
 
สถานที่ค้นพบ  
ประเภท  
   


   
ชื่อ ตะเคียนหิน
ชื่อวิทยาศาสตร์
ลักษณะสำคัญ
สรรพคุณ/ประโยชน์
 
 
สถานที่ค้นพบ  
ประเภท  
   


   
ชื่อ ตะกู
ชื่อวิทยาศาสตร์ Anthocephalus chinensis (Lamk.) A. Rich. ex Walp.
ลักษณะสำคัญ เป็นไม้ต้นขนาดใหญ่ สูง 15-30 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มกลม กิ่งเกือบตั้งฉากกับลำต้น เปลือกแตกเป็นร่องละเอียดตามยาว สีออกเทาปนน้ำตาลใบเป็นใบเดี่ยว เรียงตรงข้ามเป็นคู่ รูปไข่ กว้าง 7.5-17.5 ซม. ยาว 20 ซม. หูใบเป็นรูปสามเหลี่ยม แผ่นใบด้านบนมีขนสาก ๆ และมีสีเข้มส่วนท้องใบจะมีขนสั้น ๆ แทบมองไม่เห็นแต่สัมผัสนุ่มมืออยู่ด้านล่าง เนื้อใบค่อนข้างหนา ปลายใบมนหรือเป็นติ่งแหลม โคนใบป้าน เส้นแขนงใบมี 7-14 คู่ เห็นชัดทั้งสองด้าน และใบจะหลุดร่วงไปเองเมื่อแก่
สรรพคุณ/ประโยชน์ ใช้ในการทำเฟอร์นิเจอร์ หรือสร้างบ้าน
 
 
สถานที่ค้นพบ  
ประเภท  
   


   
ชื่อ ตะแบก
ชื่อวิทยาศาสตร์ Cananga odorata
ลักษณะสำคัญ ตะแบกเป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดกลางและใหญ่ลำต้นสูงประมาณ10-25 เมตรโคนต้นเป็นพูเป็นเหลี่ยมยิวเปลือกมีสีเทาปนน้ำตาลอ่อนผิวเปลือกค่อนข้างเรียบมีรอยขรุขระเป็นหลุมตื้นๆ เกิดสะเก็ดเป็นแผ่นบางๆ มีเปลือกใบเป็นใบเดี่ยวออกตามกิ่งก้าน ปลายยอดลักษณะใบมนขอบขนาน เนื้อใบหนา ผิวเกลี้ยงเรียบเป็นมัน ขนาดใบกว้างประมาณ 8-10 เซนติเมตร ยาวประมาณ 10-14 เซนติเมตร ออกดอกเป็นช่อยาว ลักษณะดอกมีกลีบรอบดอกเป็นรูปถ้วยเชื่อมติดกับดอก มีกลีบดอกประมาณ 5-7 กลีบ ริมขอบกลีบจะย่นบาง ดอกมีสีม่วงอ่อน ขนาดผลยาวประมาณ 2-3 เซนติเมตรผลเมื่อแก่จะแตกเป็นเสี้ยว 6 เสี้ยวภายในผลมีเมล็ดเล็ก ๆ
สรรพคุณ/ประโยชน์ เปลือก ต้มน้ำดื่มแก้บิด บิดมูกเลือด แก้อาการลงแดงได้
 
 
สถานที่ค้นพบ  
ประเภท  
   


   
ชื่อ ตีนเป็ดฝรั่ง
ชื่อวิทยาศาสตร์ Cresentia alata  L.
ลักษณะสำคัญ ไม้ต้นสูง 4-10 เมตร  ลำต้น  เรือนยอดโปร่ง แผ่กว้างเปลือกต้นสีน้ำตาลเข้ม ใบ เป็นใบประกอบแบบนิ้วมือ ออกเป็นกระจุกตามลำต้นและตามกิ่ง ก้านใบเป็นครีบ ใบย่อย 3 ใบ รูปใบหอก รูปไข่กลับค่อนข้างแคบ รูปช้อน หรือเป็นแถบยาวไม่มีก้านใบย่อย ดอก ส่วนปลายสีเขียวอมเหลือง โคนสีม่วงเข้มถึงน้ำตาล มีลายสีม่วงแดง กลิ่นเหม็นหืน ออกเดี่ยวหรือคู่เป็นกลุ่ม 1-3 ดอก ตามลำต้นและกิ่ง มลำต้นและกิ่ง กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยก 5 แฉกกลีบเลี้ยง 2 กลีบ โคนติดกันเล็กน้อย เกสรเพศผู้ 4 อัน สั้น 2 ยาว 2 ออกดอกเกือบตลอดปี ดอกดกในช่วงฤดูหนาว ผล ค่อนข้างกลม เปลือกเข็งหนา ผิวเกลี้ยง มีเมล็ดฝังอยู่ในเนื้อ
สรรพคุณ/ประโยชน์ ใบสามารถนำมาทำเป็นฝาดสมาน แก้ท้องเสีย แก้บิด ห้ามเลือดและเนื้อในผลก็รักษาโรคไต ทำให้ผมดกดำ
 
 
สถานที่ค้นพบ  
ประเภท